วันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2558

Chapter 3 E-business strategy

Chapter 3 E-business strategy



กลยุทธ์คืออะไร?


-กำหนดวิธีการที่เราจะตอบสนองวัตถุประสงค์ของเรา
-พยายามทำให้มันไปสู่เป้าหมายที่เราได้วางเอาไว้
-กลยุทธ์จะทำให้เราประสบความสำเร็วในการแข่งขันของตลาด
-มีแผนระยะยาวในการพัฒนาองค์กร
 กลยุทธ์มันทำให้เราเห็นทิศทางของอนาคตและแผนที่เราจะปฎิบัติขององค์กรหรือหน่วยงานในองค์กร
ทิศทางและขอบเขตขององค์กรในช่วงระยะยาวที่ประสบความสำเร็จประโยชน์สำหรับองค์กรผ่านการกำหนดค่าของทรัพยากรที่มีอยู่ภายในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดและเพื่อตอบสนองความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย
      ความหมายของวิธีการโดยที่การใช้งานของการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ภายในและภายนอกสามารถรองรับและมีอิทธิพลต่อกลยุทธ์ขององค์กร
ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ e-business และกลยุทธ์อื่น ๆ


กลยุทธ์ระดับองค์กร (Corporate Strategy)
จะถูกกำหนดโดยผู้บริหารระดับสูงขององค์การที่ต้องการเห็นผลสำเร็จขององค์กรในระยะยาว มุ่งเน้นการกำหนดประเภทของธุรกิจที่ควรดำเนินการ รายละเอียดการดำเนินธุรกิจ แนวทางการรวมมือของฝ่ายต่างๆ การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์คุ้มค่าที่สุด
Business Strategy กลยุทธ์ทางธุรกิจ
แผนสำหรับบริษัทที่มีการกำหนดเป้าหมายระยะยาวของบริษัทอย่างชัดเจน แผนนี้จะบรรลุเป้าหมายที่กล่าวมาได้อย่างไร และแนวทางของแผนของบริษัทที่จะสร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง
ถูกกำหนดโดยผู้บริหารหน่วยธุรกิจ (Business Unit Head) จะเกี่ยวข้องกับหน่วยดำเนินงานธุรกิจโดยตรงเช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ มีการกำหนดถึงแนวทางการพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการแผนการรับมือการเปลี่ยนในการผลิตและบริการในอนาคต ตลอดจนเสนอแนะพันธมิตรธุรกิจ(Alliance)เพื่อลดต้นทุนประกอบการ ทั้งนี้กลยุทธ์ระดับธุรกิจต้องมีทิศทางเดียวกับภารกิจ (Mission) และวัตถุประสงค์ (Objective)ขององค์การ
SCM = Supply Chain Management
SCM Strategy กลยุทธ์ของโซ่อุปทาน 
CRM=การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า
 นักปราชญ์ชาวจีนนาม ซุนวู ได้กล่าวไว้ในตำราพิชัยสงครามว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง” คำกล่าวนี้จึงถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการกำหนดแผนกลยุทธ์เพื่อการจัดการธุรกิจ การที่จะ “รู้เขา” ได้นั้นจะต้องศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอกเสียก่อน ส่วนการ “รู้เรา” ก็คือการศึกษาสภาพแวดล้อมภายในเป็นลำดับถัดมานั่นเอง การแข่งขันกันในเชิงธุรกิจผู้ที่จะชนะและสามารถครอบครองตลาดได้นั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจทั้งภายนอกและภายในก่อนการลงสนาม    



สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ จึงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ ด้วยกัน ได้แก่ 

1.สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจ คือ สภาวะแวดล้อมที่ธุรกิจไม่สามารถควบคุมได้ 
ประกอบด้วย 4M
 -Man คน
 -Money เงิน
 -Material วัสดุหรือวัตถุดิบ
 -Method วิธีปฎิบัติงาน
Material
1) คน (Man)

2.สภาพแวดล้อมภายในธุรกิจ คือ ภาวะแวดล้อมที่ธุรกิจสามารถควบคุมได้ 
ประกอบด้วย 4P
  -ผลิตภัณฑ์ Product
  -การตั้งราคา  Price 
  -ช่องทางการจัดจำหน่าย Place 
  -การส่งเสริมการขาย  Promotion
 สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจระดับจุลภาค 
      คือ ภาวะแวดล้อมภายนอกที่ธุรกิจไม่สามารถ ควบคุมได้ แต่สามารถเลือก ที่จะติดต่อและเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
ตลาด หรือลูกค้า (Market)   
ผู้ขายปัจจัยการผลิตหรือวัตถุดิบ (Suppliers)
คนกลางทางการตลาด (Marketing Intermediaries)
 -สาธารณชนและกลุ่มผลประโยชน์ (Publics)  
                                                            
สภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจระดับมหภาค
   คือ สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการดําเนินธุรกิจและต่อระบบการตลาดเป็นอย่างมาก แต่ละหน่วยงานและองค์กรธุรกิจไม่สามารถควบคุมการเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ แบ่งออกได้เป็น 4 ประการ ได้แก่ 
ด้านการเมืองและกฎหมาย 
เศรษฐกิจ
สังคม 
เทคโนโลย



S (Strengths) จุดแข็ง 

   เป็น ปัจจัยภายในที่สามารถควบคุมได้ตามศักยภาพของธุรกิจที่มีอยู่จุดแข็งนี้จะก่อ ให้เกิดผลดีต่อธุรกิจ ซึ่งส่งผลมาจากการบริหารงานภายในระหว่าง ผู้บริหารและบุคลากร หรืออาจมาจากความได้เปรียบในด้านทรัพยากรทางการบริหารต่างๆ เช่น มีสถานภาพทางการเงินที่มั่นคง ที่ตั้งอยู่ใกล้ทั้งแหล่งวัตถุดิบและแหล่งจัดจําหน่าย บุคลากรมีประสบการณ์และความสามารถสูง ฯลฯ

W (Weaknesses) จุดอ่อน 
   
   เป็น ปัจจัยภายในที่เกิดจากปัญหาภายในธุรกิจ อันเนื่องมาจากการบริหารงานที่ผิดพลาด ข้อจํากัดบางประการของศักยภาพทางธุรกิจ ปัญหาเหล่านี้จะส่งผลร้ายถ้าไม่รีบดําเนินการแก้ไข เช่น ขาดสภาพคล้องทางการเงิน สินค้าที่ผลิตออกมามีคุณภาพ ไม่คงที่ ขาดการประสานงานที่ดีภายในองค์กร ฯลฯ

O (Opportunities) โอกาส

  เป็น ปัจจัยภายนอกที่ธุรกิจไม่สามารถเข้าไปควบคุมให้เกิดหรือไม่เกิดขึ้นได้ แต่เป็นสภาวการณ์แวดล้อมอันส่งผลดีให้กับธุรกิจโดยบังเอิญ เช่น กลุ่มลูกค้าเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น นโยบายของรัฐให้การสนับสนุนธุรกิจประเภทนี้ สินค้าของคู่แข่งมีคุณภาพต่ำ ฯลฯ

T (Threats) อุปสรรค
  
  เป็น ปจจัยภาย นอกที่ธุรกิจไม่สามารถเข้าไปควบคุมให้เกิดหรือ ไม่เกิดขึ้นได้ และเป็นสภาวการณ์แวดล้อมอันเลวรายที่ส่งผลกระทบให้ธุรกิจเสียหาย เช่น รัฐบาลขึ้นภาษี ปัญหาสภาพเศรษฐกิจตกต่ำ วัตถุดิบมีราคาสูงขึ้น เกิดภัยสงครามหรือภัยธรรมชาติ ฯลฯ


กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) 








กลยุทธ์เชิงป้องกัน (ST Strategy)   
 







กลยุทธ์เชิงแก้ไข (WO Strategy)
 
  





กลยุทธ์เชิงรับ (WT Strategy)
 








  การจัดวางกลยุทธ์








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น